เกี่ยวกับเว็บไซต์

ประชาสัมพันธ์ข้อมูลหลักสูตรที่เปิดสอน
ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ข้อมูลการติดต่อ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
iservice@rmu.ac.th
043-713080-9 ต่อ 304

Follow Us

ข้อมูลอาจารย์ผู้สอน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
FACULTY OF SCIENCE AND TECHNOLOGY

อาจารย์ ดร.กิจปพน ศรีธานี

อาจารย์ ดร.กิจปพน ศรีธานี

Dr.kitpapon sirthanee

ประวัติการศึกษา / วุฒิการศึกษา

การศึกษาระดับ ปริญญาเอก

หลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

วิชาเอก/สาขา

สารสนเทศศึกษา

สถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555)

การศึกษาระดับ ปริญญาโท

หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)

วิชาเอก/สาขา

การบริหารบริการสุขภาพ

สถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (2547)

การศึกษาระดับ ปริญญาตรี

หลักสูตร

สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ.)

วิชาเอก/สาขา

สาธารณสุขศาสตร์

สถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2542)

การศึกษาระดับ ปริญญาตรี

หลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)

วิชาเอก/สาขา

เวชระเบียน

สถาบันการศึกษา

มหาวิทยาลัยมหิดล (2537)

งานวิจัยและความเชี่ยวชาญ

ประสบการณ์บริหาร

ปี พ.ศ. ตำแหน่ง คณะหรือหน่วยงาน งานที่รับผิดชอบ
2560 - 2561 ประธานหลักสูตรสาธารณสุขชุมชน สาขาสาธารณสุขชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารหลักสูตร
บทความวิจัย
  • ประสิทธิผล ของ ผลิตภัณฑ์ สมุนไพร หญ้า ดอก ขาว ใน การ ลด พฤติกรรม การ สูบ บุหรี่ ของ ประชาชน ชุมชน บ้าน คำ ปะ โอ ตำบล กุด โดน อำเภอ ห้วยเม็ก จังหวัด กาฬสินธุ์

    Journal of Science and Technology, Rajabhat Maha Sarakham University


    รายละเอียด

    The purpose of this research was to study the smoking behavior of volunteers at Baan Kham Pa-O, Kuddon sub-district, Huai Mek district, Kalasin province. To compare the efficacy of Ya Dok Khao (Vernonia cinerea: VC) herbal candy products with herbal tea products, and to study the satisfaction of Ya Dok Khao (Vernonia cinerea: VC) herbal candy products with herbal tea products. The study samples were smokers aged 18-60 years in the area of​​ Ban Kham Pa-O, Kuddon subdistrict, Huai Mek district Kalasin province, 52 people were selected using a specific selection method based on the inclusion criteria. Data was collected by using a content validity of 0.92. The reliability was determined by using Cronbach's Alpha Coefficient of 0.867. The analysis of descriptive statistics were used such as frequency, percentage, mean and standard deviation and the inferential statistics was t-test.

    เพิ่มข้อมูล 5 ตุลาคม 2565 เวลา 08:01

  • ปัจจัย ที่ มี ความ สัมพันธ์ ต่อ ความ ต้องการ การ เรียน รู้ ตลอด ชีวิต ของ ผู้ สูงอายุ ใน ตำบล แวง น่า ง อำเภอ เมือง จังหวัด มหาสารคาม

    Ratchaphruek Journal


    รายละเอียด

    The purposes of the research were to study the level of the requirement for lifelong learning of the elderly and to find the relationship between the personal factors of the elderly persons and the needs of lifelong learning at Waeng Nang sub-district, Mueang district, Maha Sarakham province. The sample group of the elderly who had 60 years old and above who are living in the community in total of 120 people. This was a questionnaire research. The data was analyzed by descriptive statistics; frequency, percentage, mean, and standard deviation, and chi-square test for inferential statistics. The research findings showed that; 1) the level of the needs for lifelong learning in the elderly people overall was at the middle level. When considering on the needs for each dimension subjects, it were found that the most requirements were the needs of saving, physical health and psychological health respectively, 2) the elderly factors and gender were related with the needs of lifelong learning in the mind adaption perspective, which was found significantly (p-value< 0.05). Moreover, age, education level and income were also related with the needs of lifelong learning in the saving perspective was found significantly (p-value< 0.05). Therefore, stakeholders who involved with the elderly’s life in community should be focus on lifelong learning management in elderly needs to develop the quality of life by emphasizing on the elderly people factors such as; sex, age, education level and income.

    เพิ่มข้อมูล 5 ตุลาคม 2565 เวลา 08:03

  • Knowledge, Attitude, and Liver Fluke Prevention Behavior of the People in Lamklong Subdistrict, Muang Kalasin Province

    RMU.J. 11(3) : September - December 2017


    รายละเอียด

    The descriptive research were aimed 1) to study knowledge, attitude, and behavior for liver fluke disease
    prevention of the people in Thambon Lamklong, Amphoe Muang, Kalasin province. 2) to study relationship
    among knowledge, attitude, and behavior for liver fluke disease prevention. The 175 samples of 317
    population were selected by systemic random for once person per household. The data were collected by
    questionnaires during 2016, January to May and were analyzed by descriptive statistics; frequency,
    percentage, mean, standard deviation, and by inferential statistic with Spearman coefficient.
    The results were revealed that the samples were; the middle knowledge level for the liver fluke disease
    prevention, the good attitude level, and the middle prevention behavior. The knowledge were related to the
    attitude for the liver fluke disease prevention by the positive side in the middle level (rs=0.387)with the
    statistical significant at 0.01 level. The suggestions of this research to the government departments in
    community such as community public health, local administration should be promoted the enhancing
    knowledgefor the liver fluke disease prevention and provided the activities or knowledge sharing area to
    adjust the right attitude that affects to the changing health behaviors in the long term.

    เพิ่มข้อมูล 5 ตุลาคม 2565 เวลา 08:06

  • ความ สัมพันธ์ ระหว่าง ความ ฉลาด ทาง สุขภาพ กับ คุณภาพ ชีวิต ของ ผู้ สูงอายุ ใน ภาค ตะวันออก เฉียง เหนือ ตอน กลาง

    สถาบันวิจัย ระบบ สาธารณสุข


    รายละเอียด

    เมื่อก้าวเข้าสู่วัยชรา สุขภาพย่อมจะเสื่อมถอยลง แต่ถ้าหากผู้สูงอายุมีความฉลาดทางสุขภาพก็จะช่วยชะลอการเสื่อมถอยนั้นได้หรือช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความฉลาดทางสุขภาพตามหลักพฤติกรรมต่างๆ ที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอแนะให้ประชาชนดูแลตนเอง ซึ่งประกอบด้วยการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการกับอารมณ์ การงดสูบบุหรี่และการงดดื่มสุรา 2. ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และ 3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ จำนวน 600 คน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ด้วยวิธีการเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางสุขภาพโดยรวมของผู้สูงอายุอยู่ในระดับต่ำ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอยู่ในระดับสูง ความฉลาดทางสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (r = 0.305, p-value <0.001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ข้อเสนอแนะ ควรเร่งรัดให้มีการประเมินและพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งในระดับบุคคลและระดับชุมชน เพื่อให้ทราบสถานการณ์ทางสุขภาพที่เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระดับคุณภาพชีวิตในอนาคต ซึ่งจะนำไปสู่การมีข้อมูลขั้นพื้นฐานที่สำคัญในการกำหนดแผนงาน ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์และปริมาณที่เพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุในอนาคต โดยเน้นที่องค์ประกอบที่มีความจำเป็นเร่งด่วนก่อน เช่น ทักษะการเข้าถึงข้อมูล ทักษะการสื่อสาร และทักษะการรู้เท่าทันสื่อ

    เพิ่มข้อมูล 5 ตุลาคม 2565 เวลา 08:07

  • ความ รู้ เจตคติ และ การ ปฏิบัติ ตัว ใน การ ป้องกัน โรค ติด เชื้อ ไวรัส โคโรนา 2019 ของ นักศึกษา สาขา วิชา สาธารณสุข ชุมชน มหาวิทยาลัย ราชภัฏ มหาสารคาม

    Rajabhat Maha Sarakham University Journal


    รายละเอียด

    This cross-sectional descriptive study aimed to study the knowledge, attitudes, and practice in the prevention of the 2019 coronavirus infection among students of the community public health program; and to compare the differences of knowledge, attitudes, and practice in the prevention of coronavirus 2019 among students of the community public health, RajabhatMahaSarakham University. The sample used for this study was community health students, RajabhatMahaSarakham University, 180 students. The study found that the majority of the sample were female, 20 years old, first year students. The income received per month was mostly between 3,001-6,000 baht, stayed in dormitory alone, had no underlying disease, the sample had hands washed more than 4 times a day, wasableto use epidemiological knowledge, had not previously used to utilized health services in the past year, and participated in the prevention of COVID-19 education activities, in the knowledge about the prevention of COVID-19 2019 found that the samples were at a moderate level (57.22%) attitude at a good level (58.89%) practice prevention behaviors at a good level (60.56%). One-way ANOVA analysis results were shown that the knowledge level of coronavirus 2019 prevention of the sample group classified by class year found that the mean of the knowledge score was statistically significant at 0.05 (p-value= 0.004), and the attitude mean score was significantly different at 0.05 (p-value= 0.028).

    เพิ่มข้อมูล 5 ตุลาคม 2565 เวลา 08:11